พระสมเด็จวัดระฆังพิมม์พระประธาน

ร่วมศึกษา



2,500,000


ร้าน : ต้น เหมวัชระ

โทร : 0956731835

Line :

Email :tonhemwachra@gmail.com/ID.Line tontrue7836

วันที่ : 2015-12-11

จำนวนผู้ชม : 14574








Share With Friends:

เห็นวาความนุ่มนวลตาเมื่อแรกเห็นนั้นพอจะเรียกได้ว่าเป็นลักษณะของเนื้อปูนนุ่มแต่หากใช้แว่นขยายส่องจริงๆการที่เห็นมวลสารก้อนขาวๆกระจายฝังตัวอยู่ในเนื้อพระยิ่งส่วนที่ผิวเปิดหรือถลอกออกไปนั้นยิ่งเห็นมวลสารชัดเจนขึ้น อีกทั้งวรรณะพระหรือสีของเนื้อนั้นออกเป็นสีน้ำตาลจึงมักเรียกเนื้อแบบนี้ว่า "เนื้อตุ๊บตั๊บ"ก็เรียกได้ว่าแต่หากลักษณะเนื้อพระลักษณะนี้สีนี้มีส่วนหยาบกว่านี้พอประมาณโดยเฉพาะมีก้อนขาวๆฝังกระจายตัวอยูใหญ่บ้างเล็กบ้างก็จะกลายเป็นอีกเนื้อหนึ่งที่เรียกกันว่า"เนื้อกระยาสาทร" ประการแรก สีพระที่เห็นอยู่ขณะนี้เป็นสีน้ำตาลคล้ายกับขนมตุ๊บตั๊บ แต่หากนับย้อนหลังไปถึงวันที่พระยังไม่ได้ผ่านการบูชามาเลย สีพระหรือวรรณะพระองค์นี้จะเหลืองอ่อนหรือเจือจางลงไปมากหากประมาณความเข้มข้นของสี ณ ขณะนี้ 100 เปอร์เซนต์แต่ถ้าระองค์นี้ยังไม่ผ่านการใช้ความเข้มข้นและความฝันแปรจะอยู่ที่ 20-30 เปอร์เซนต์เท่านั้นหมายความว่าสีพระจะเจือจางลงไปถึง 70 เปอร์เซนต์โดยประมาณ และ ในความเจือจางที่ว่านั้นมิได้หมายความว่าจะเจือจางจากสีน้ำตาลเข้มเป็นน้ำตาลอ่อนเท่านั้นแต่สีพระช่วงต้นที่ไม่ผ่านการใช้ของพระสมเด็จวัดระฆังองค์นี้จะต้องเป็น"สีหมากสุกหรือสีเหลืองอมน้ำตาล"วึ่งเมื่อผ่านการใช้มาระยะเวลาหนึ่งสีจะค่อยๆผันแปรจากเหลืองอมน้ำตาลค่อยๆเข้มขึ้นคือสีเหลืองก็จะลดลงไปสีน้ำตาลก็จะเข้ามาแทนที่และเข้มขึ้นตามสภาพและเวลาการใช้ ซึ่งกล่าวไว้ว่าเรื่องการสร้างพระสมเด็จวัดระฆังนั้นเป็นเรื่องใหญ่ไม่ใช่งานเล็กๆเพราะจะต้องปรกอบด้วยผู้ที่มีสวนมากมายหลาายสิบคน"เพราะจำนวนของพิมม์พระนั้นหากจะกล่าวถึงแต่เพียง 5 พิมม์ คือ 1.พิมม์พระประธาน 2.พิมม์เจดีย์ 3.พิมม์เกศบัวตูม 4.พิมม์ฐานแซม 5.พิมม์ปรกโพธิ์ ซึ่งทั้ง 5 แม่พิมม์นี้ก็ย่อมจะต้องมีพิมม์แยกย่อยนับเป็น 10 กว่าแม่พิมม์ขึ้นไปรวมแล้วไม่น้อยกว่า 50-60 แม่พิมม์แน่นอน

 

การจัดส่ง & รับประกัน

  • จัดส่งภายใน 1-3 วัน
  • ค่าจัดส่งตามตกลง
  • คืนสินค้าภายใน 7 วัน

ข้อมูล:

 

ต้น เหมวัชระ

  • มุมพระสกุลลำพูน

 

ขนาด: การเก็บรักษา:

  • ควรเก็บในที่แห้ง เก็บในที่จัดวาง เพราะพระมีขนาดเล็กอาจสูญหายได้
พระแท้ ดอทคอม
   

ยังไม่มี ร่วมแสดงควมคิดเห็น